This repository has been archived by the owner on Apr 22, 2020. It is now read-only.
-
Notifications
You must be signed in to change notification settings - Fork 0
/
1040.html
124 lines (123 loc) · 9.19 KB
/
1040.html
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
<span style="font-family: Courier New;">ศจ.ปี๊ด เป็นนักโบราณคดีที่มีชื่อเสียง เนื่องจากเป็นคนแรกที่ขุดพบศิลาจารึกของอาณาจักรโบราณชื่อว่าอาณาจักรมุ่ยมุ่ย ซึ่งศิลาจารึกนี้ได้บันทึกความรู้เกี่ยวกับการคำนวณในสมัยโบราณไว้ หลังจากที่ ศจ.ปี๊ด ได้แปลความหมายของศิลาจารึกแล้ว เขาได้พบว่าตัวเลขดังกล่าวเป็นตัวเลขที่ประหลาดมากจนเขาคิดว่ามันควรจะเป็นของมนุษย์ต่างดาวมากกว่าเป็นของมนุษย์ในโลกนี้ เพราะระบบตัวเลขดังกล่าวมีเลขโดดเพียงสี่ตัวคือ 0, 1, 3, และ 7 และ ค่าประจำหลักจะมีค่าเป็นเลขยกกำลังของ 5 นั่นคือตัวเลขทางขวาสุดจะมีค่าประจำหลักเป็น 1 และตัวถัดมาทางซ้ายจะมีค่าประจำหลักเป็น 5 เท่าของตัวเลขทางขวา ดังตัวอย่าง<br />
<br />
<strong>ตัวอย่าง </strong> ตัวเลข 1113 ในระบบมุ่ยมุ่ย จะมีตัวเลขประจำหลักและค่าประจำหลักดังนี้<br />
<br />
</span>
<table height="117" cellspacing="1" cellpadding="5" border="1" align="center" width="400" style="">
<tbody>
<tr>
<td><span style="font-family: Courier New;"> </span></td>
<td style="text-align: center;"><span style="font-family: Courier New;"><strong>หลักที่ 4</strong></span></td>
<td style="text-align: center;"><span style="font-family: Courier New;"><strong>หลักที่ 3</strong></span></td>
<td style="text-align: center;"><span style="font-family: Courier New;"><strong>หลักที่ 2</strong></span></td>
<td style="text-align: center;"><span style="font-family: Courier New;"><strong>หลักที่ 1</strong></span></td>
</tr>
<tr>
<td><span style="font-family: Courier New;"><strong>ค่าประจำหลัก</strong></span></td>
<td><span style="font-family: Courier New;">5<sup>3</sup></span></td>
<td><span style="font-family: Courier New;">5<sup>2</sup></span></td>
<td><span style="font-family: Courier New;">5<sup>1</sup></span></td>
<td><span style="font-family: Courier New;">1</span></td>
</tr>
<tr>
<td><span style="font-family: Courier New;"><strong>ตัวเลขประจำหลัก</strong></span></td>
<td><span style="font-family: Courier New;">1</span></td>
<td><span style="font-family: Courier New;">1</span></td>
<td><span style="font-family: Courier New;">1</span></td>
<td><span style="font-family: Courier New;">3</span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<span style="font-family: Courier New;"> <br />
ค่าของตัวเลข 1113 ในระบบมุ่ยมุ่ยจะมีค่าเท่ากับ 1 × 5<sup>3</sup> + 1 × 5<sup>2</sup> + 1 × 5<sup>1</sup> + 3 × 1 = 158<br />
<br />
<strong>ปัญหาที่เกิดขึ้น </strong>คือ ตัวเลขในระบบมุ่ยมุ่ยจะไม่สามารถแทนค่าบางค่าได้ ดังนั้นจึงการเขียนตัวเลขจึงต้องเขียนเป็นตัวเลขสองตัวลบกันเสมอ ดังตัวอย่าง<br />
<br />
</span>
<table height="327" cellspacing="1" cellpadding="5" border="1" align="center" width="350" style="">
<tbody>
<tr>
<td style="text-align: center;"><span style="font-family: Courier New;"><strong>ตัวเลขในระบบมุ่ยมุ่ย</strong></span></td>
<td style="text-align: center;"><span style="font-family: Courier New;"><strong>ตัวเลขในระบบฐานสิบ</strong></span></td>
</tr>
<tr>
<td><span style="font-family: Courier New;">117-3</span></td>
<td><span style="font-family: Courier New;">34</span></td>
</tr>
<tr>
<td><span style="font-family: Courier New;">333-111</span></td>
<td><span style="font-family: Courier New;">62</span></td>
</tr>
<tr>
<td><span style="font-family: Courier New;">13-1</span></td>
<td><span style="font-family: Courier New;">7</span></td>
</tr>
<tr>
<td><span style="font-family: Courier New;">7-0</span></td>
<td><span style="font-family: Courier New;">7</span></td>
</tr>
<tr>
<td><span style="font-family: Courier New;">30713-101</span></td>
<td><span style="font-family: Courier New;">2032</span></td>
</tr>
<tr>
<td><span style="font-family: Courier New;">31113-1</span></td>
<td><span style="font-family: Courier New;">2032</span></td>
</tr>
<tr>
<td><span style="font-family: Courier New;">3-1</span></td>
<td><span style="font-family: Courier New;">2</span></td>
</tr>
<tr>
<td><span style="font-family: Courier New;">7-3</span></td>
<td><span style="font-family: Courier New;">4</span></td>
</tr>
<tr>
<td><span style="font-family: Courier New;">0-0</span></td>
<td><span style="font-family: Courier New;">0</span></td>
</tr>
<tr>
<td><span style="font-family: Courier New;">131-0</span></td>
<td><span style="font-family: Courier New;">41</span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<span style="font-family: Courier New;"> <br />
<strong>หมายเหตุ </strong> ตัวเลขในระบบฐาน 10 บางตัวสามารถเขียนเป็นตัวเลขในระบบมุ่ยมุ่ยได้มากกว่าหนึ่งแบบ<br />
<br />
<u><strong>โจทย์</strong></u><br />
ให้คุณเขียนโปรแกรมเพื่อรับตัวเลขจำนวนเต็มบวกในระบบเลขฐาน 10 แล้วแปลงเป็นตัวเลขในระบบมุ่ยมุ่ย โดยที่ตัวเลขในระบบฐาน 10 ที่รับจะมีค่าไม่เกิน 2,000,000 หากสามารถแปลงเป็นตัวเลขในระบบมุ่ยมุ่ยได้หลายแบบให้แปลงเป็นแบบใดก็ได้<br />
<br />
<u><strong>ข้อมูลนำเข้า</strong></u><br />
<strong>บรรทัดแรก</strong>ประกอบด้วยจำนวนเต็ม N (1 ≤ N ≤ 1000) เป็นจำนวนของตัวเลขมุ่ยมุ่ยในอินพุต<br />
<strong>บรรทัดที่ 2 ถึงบรรทัดที่ N+1</strong> ในบรรทัดที่ i+1 ประกอบด้วยตัวเลขจำนวนเต็มบวก mi (0 ≤ mi ≤ 2,000,000) ซึ่งเป็นตัวเลขในระบบเลขฐานสิบ<br />
<br />
<u><strong>ข้อมูลส่งออก</strong></u><br />
<strong>ประกอบด้วยข้อมูล N บรรทัด</strong> ในบรรทัดที่ i เป็นตัวเลขในระบบมุ่ยมุ่ย สองตัว ai และ bi คั่นด้วยเครื่องหมาย “-”<span><br />
<br />
<u><strong>ที่มา</strong></u><strong>:</strong> </span><span><b>การแข่งขันคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โอลิมปิกแห่งประเทศไทย สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ประจำปี 2550</b></span><br type="_moz" />
</span>
<table>
<tr>
<th>ข้อมูลนำเข้า</th>
<th>ข้อมูลส่งออก</th>
</tr>
<tr>
<td>8
<br />34
<br />62
<br />7
<br />2032
<br />2
<br />4
<br />0
<br />41</td>
<td>117–3
<br />333-111
<br />13-1
<br />31113-1
<br />3-1
<br />7-3
<br />0–0
<br />131–0</td>
</tr></table>